ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

บทความ

ขั้นตอนการสมัครสมาชิก เว็บไซต์ W3school แบบ Step by Step

  ขั้นตอนการสมัครสมาชิก W3Schools: เข้าไปที่เว็บไซต์ W3Schools คลิก "Sign Up" ที่ด้านบนขวาของหน้าจอ กรอกข้อมูลส่วนตัวให้ครบถ้วน เช่น ชื่อ, อีเมล, รหัสผ่าน (รหัสผ่านต้องมี ตัวใหญ่ ตัวเลข ตัวเลข และอักขระพิเศษ รวมกันไม่น้อยกว่า 8 ตัว ) ยืนยันการสมัคร โดยกด "Sign Up" ยืนยันการสมัครผ่านอีเมล โดยกดลิงก์ในอีเมล หมายเหตุ: หากมีข้อมูลอื่นๆ ที่ W3Schools ต้องการให้กรอก จะปรากฎในขั้นตอนการสมัครในเว็บไซต์
โพสต์ล่าสุด

อยากเขียนโปรแกรมเป็น ต้องเริ่มจากตรงนี้ w3school เว็บไซต์เรียนรู้และแบบฝึกหัดเกี่ยวกับเขียนโปรแกรม

  แนะนำเว็บไซต์ในการพัฒนาทักษระทางด้านการเขียนโปรแกรม   w3school W3Schools เป็นเว็บไซต์สำหรับการเรียนรู้และฝึกปฏิบัติการเกี่ยวกับเทคโนโลยีเว็บ ได้แก่ HTML, CSS, JavaScript, PHP, SQL, Python และอื่นๆ โดยมีบทเรียนออนไลน์ที่สามารถเรียนรู้ได้ฟรี มีตัวอย่างการใช้งาน และแบบฝึกหัดให้ผู้ใช้ฝึกปฏิบัติได้ เป็นแหล่งเรียนรู้ที่นิยมสำหรับนักศึกษาและนักพัฒนาเว็บไซต์เป็นประจำ ท่านสามารถเข้าถึงเว็บไวต์ W3Schools ได้จาก W3Schools Online Web Tutorials
  Guido van Rossum เป็นผู้สร้างภาษาโปรแกรม Python และเป็นผู้บริหารโครงการ Python จนถึงปัจจุบัน ผลงานหลักของ Guido van Rossum คือภาษาโปรแกรม Python ซึ่งเป็นภาษาโปรแกรมที่มีการใช้งานแบบกว้างขวาง ง่ายต่อการเขียนและการอ่านความหมาย มีการใช้งานอย่างแพร่หลายทั้งในด้านการพัฒนาแอพพลิเคชันบนอินเทอร์เน็ต การวิจัยด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ และการศึกษา และยังใช้งานในการพัฒนาโครงการต่าง ๆ อย่างการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น และการพัฒนาแอพพลิเคชันสำหรับ IoT.

สื่อการเรียนรู้ ชุดฝึกทักษะการเรียนรู้อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง (IoT)

สื่อการเรียนรู้ ชุดฝึกทักษะการเรียนรู้อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง (IoT) ประกอบการเรียนรู้รายวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี 2 (ว32104) ชันมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง

ไมโครคอนโทรลเลอร์กับไมโครโพรเซสเซอร์ โครงสร้างไมโครคอนโทรลเลอร์ อง...

ความหมายของไมโครคอนโทรลเลอร์ และการประยุกต์ใช้งานเบื้องต้น

ลำโพงบัซเซอร์ (Buzzer)

ลำโพงบัซเซอร์ (Buzzer)         ลำโพงบัซเซอร์เป็นอุปกรณ์ที่ให้กำเนิดเสียงทำหน้าที่เปลี่ยนสัญญาณไฟฟ้าให้อยู่ในรูปสัญญาณเสียง ลำโพงบัซเซอร์มีอยู่ 2 ประเภท ได้แก่         1. แบบแอคทีฟ (Active Buzzer) ลำโพงชนิดนี้มีวงจรกำเนิดความถี่อยู่ภายใน สามารถสร้าง สัญญาณเสียงเตือนได้ทันทีเพียงแค่จ่ายแรงดันไฟฟ้าเข้าไป         2. แบบพาสซีฟ (Passive Buzzer) ลำโพงชนิดนี้ทำงานเหมือนลำโพงขนาดเล็ก คือ ถ้าป้อน แรงดันไฟฟ้ากระแสตรงเข้าไปไม่มีเสียงถ้าต้องการให้มีสัญญาณเสียงต้องทำการป้อนสัญญาณความถี่ เข้าไป ลำโพงชนิดนี้สามารถกำเนิดเสียงที่มีความแตกต่างกันตามความถี่ที่ป้อนเข้ามา         ในหน่วยนี้เป็นการใช้งาน Arduino กับลำโพงบัซเซอร์แบบพาสซีฟ ดังนั้นการใช้งานต้องทำการ เขียนโปรแกรมเพื่อส่งความถี่จาก Arduino เข้าไปยังลำโพงบัซเซอร์ ปัจจุบันเครื่องใช้ไฟฟ้าโดยทั่วไปมีลำโพง          บัซเซอร์ติดตั้งอยู่ภายในด้วย เช่น ในคอมพิวเตอร์ใช้ลำโพงบัซเซอร์เพื่อส่งสัญญาณให้ทราบว่าสถานะ               ของคอมพิวเตอร์มีปัญหาอะไร หรือในเครื่องซักผ้าอัตโนมัติ เครื่องปรับอากาศ เมื่อทำการกดปุ่มบนเครื่องหรือรีโมตคอนโทรลจะได้ยินเสีย